1.การศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิตของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวไทยที่มีการใช้จ่ายสูง
อาจารย์ ดร.ยงยุทธ แก้วอุดม
2.แนวทางการพัฒนาจังหวัดตรัง สู่การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอาหารอย่างสร้างสรรค์ของภาคใต้
อาจารย์ ดร.ศรินยา ละอองอินทร์ ทยานศิลป์
3.องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงศาสนาที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจของนักท่องเที่ยววัยรุ่นในจังหวัดกรุงเทพมหานคร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อริสรา เสยานนท์
4.ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับรูปแบบการดำเนินชีวิตของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวไทยที่มีการใช้จ่ายสูง
อาจารย์ ดร.ยงยุทธ แก้วอุดม
5.รูปแบบการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวไทยที่มีการใช้จ่ายสูง
อาจารย์ ดร.ยงยุทธ แก้วอุดม
6.พฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารในศูนย์การค้าที่มีผลต่อความพึงพอใจปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด 7Ps ในพื้นที่เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
อาจารย์ภาณุมาศ เกตุแก้ว
7.การออกแบบประสบการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนฐานโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
อาจารย์สุวดี บุญมาจรินนท์, อาจารย์จันทร์จิตต์ ฐนะศิริ และอาจารย์ ดร.มนรัตน์ ใจเอื้อ
8.ทัศนคติของนักท่องเที่ยวเพศชายชาวไทยและชาวต่างชาติที่มีต่อภาพลักษณ์ของผู้หญิงไทยที่สะท้อนจากสื่อที่มีเรื่องราวทางเพศ
อาจารย์ชนิดาภา วัชรพุกก์ อาจารย์ภาณุมาศ เกตุแก้ว อาจารย์รุจิภาส บุญสำเร็จ และอาจารย์รัศมี อัจฉริยไพศาลกุล
9.Factors influencing Café hopper’s choice of cafes in Bangkok using the AHP approach.
อาจารย์ติลา เลาหวิรภาพ
10.แนวทางการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมการตลาดของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวอำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
อาจารย์รัชชุกร จรวิรัตน์ และอาจารย์ธนวัฒน์ เพชรพันธ์
11.แนวทางพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรของคณะการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
คุณศุภวดี บุญหนัก และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิออน ศรีสมยง
12.โครงการพัฒนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักศึกษาเครือข่ายการศึกษาภาคกลาง
อาจารย์จันทร์จิตต์ ฐนะศิริ และอาจารย์ ดร. รุจิภาส บุญสำเร็จ
13.การพัฒนาความรู้ประวัติศาสตร์พื้นที่สำหรับการส่งเสริมประสบการณ์การท่องเที่ยวผสมผสานบนฐานจิตสำนึกความเป็นชาติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนธร วชิรขจร และอาจารย์ ดร.กฤติกา คุณูปการ
14.การวิเคราะห์องค์ประกอบการรับรู้คุณค่าการบริการของผู้ใช้บริการร้านกาแฟประเภทคาเฟ่บนถนนนิมมานเหมินท์ จังหวัดเชียงใหม่
อาจารย์ภาณุมาศ เกตุแก้ว
15.ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่าสำหรับการกำหนดกลยุทธ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
อาจารย์ ดร.รุจิภาส บุญสำเร็จ
16.Impact of Risk and Image on Destination Loyalty of International Medical Tourists in Phuket Province, Thailand
อาจารย์ ดร.ศรินยา ละอองอินทร์ ทยานศิลป์
17.The Effect of Risk and Image 0n Repurchase Intention of Street Food in The Covid-19 Era
อาจารย์ ดร.ศรินยา ละอองอินทร์ ทยานศิลป์
18.การแก้ปัญหาคุณภาพบริการของศูนย์สุขภาพ: กรณีศึกษาศูนย์สุขภาพในโรงแรม A จังหวัดภูเก็ต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อริสรา เสยานนท์
19.ปัญหาของผู้ให้บริการขนส่งอาหารในยุค New Normal
อาจารย์ติลา เลาหวิรภาพ
20.การรับรู้ความเสี่ยง COVID-19 กับการตัดสินใจไม่เดินทางท่องเที่ยวในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทยในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนธร วชิรขจร
21.แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรด้วยการออกแบบประสบการณ์ที่น่าจดจำให้แก่นักท่องเที่ยว: ไร่กาแฟหมู่บ้านดอยช้าง ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
อาจารย์ธนวัฒน์ เพชรพันธ์ และอาจารย์รัชชุกร จรวิรัตน์
22.คุณภาพการให้บริการในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจกลับมาใช้บริการซ้ำของโรงแรมระดับ 4 ดาวขึ้นไปในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนธร วชิรขจร
23.ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อการรับรู้คุณค่าอาหารไทยของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปในเขตกรุงเทพมหานคร
อาจารย์ภาณุมาศ เกตุแก้ว อาจารย์ติลา เลาหวิรภาพ อาจารย์พนิตนันท์ เวชศาสตร์ และอาจารย์ขนิษฐา เนียมเกิด
24.แนวทางการพัฒนาองค์ประกอบการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยในเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
อาจารย์ ดร.มนรัตน์ ใจเอื้อ
25.การศึกษาการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผ่านสื่อดิจิทัลที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการโรงแรมที่ตั้งอยู่ในอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
อาจารย์ ดร.รัชดา ธูปทอง
26.ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์สถานที่จัดงานธุรกิจไมซ์ภายในประเทศ
อาจารย์รัศมี อัจฉริยไพศาลกุล อาจารย์ภาณุมาศ เกตุแก้ว อาจารย์จารวี กมลศิริพิชัยพร และอาจารย์ ชนิดาภา วัชรพุกก์
27.Perceived Risk, Quality and Value Affecting International Medical Tourist Loyalty in the Post Covid-19 Era
อาจารย์ ดร.ศรินยา ละอองอินทร์ ทยานศิลป์
28.ปัจจัยการสร้างประสบการณ์อันน่าจดจำสำหรับการจัดงานอีเว้นท์งานแต่งงานขนาดเล็ก
อาจารย์สุวดี บุญมาจรินนท์ อาจารย์เสาวลักษณ์ สุดประเสริฐ อาจารย์รัศมี อัจฉริยไพศาลกุล อาจารย์ ชนิดาภา วัชรพุกก์ และอาจารย์อัจฉริยาพร ตั้งปิติจิระ